Hydrotherapy

Baths

การแช่น้ำ มีการบำบัดที่หลากหลายเช่น 

การแช่น้ำอุ่น-ร้อน Rising emperature bath  

โดยการแช่ตัวในน้ำอุ่น Neutral warm bath อุณหภูมิน้ำที่เหมาะสมประมาณ 33-37.8 องศาเซลเซียสด้วยระดับน้ำท่วมหัวไหล่ ของผู้รับบริการและระยะเวลาแช่ตัว 15-20 นาที จะช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อ หลอดเลือดขยายตัว ความกันโลหิตลดลง กระตุ้นระบบภูมิกันของร่างกาย คลายเครียด 

การแช่ตัวในน้ำร้อน Hot bath อุณหภูมิที่ใช้ในการแช่ตัว ประมาณ 40 องศาเซลเซียส ไม่ควรแช่นานเกินไป ปรับตามความรู้สึกของผู้รับบริการ เพราะอาจจะหน้ามืดเป็นลมได้  การแช่ตัวแบบนี้จะช่วยผู้มีปัญหาการนอนไม่เหลับเรื้อรังนอนหลับได้ง่าย ช่วยผ่อนคลาย ช่วยขับสารพิษออกจากร่างกาย กระตุ้นการไหลเวียนโลหิตให้ดีขึ้น ช่วยบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ  

การแช่ตัวในน้ำเย็น Cold bath  อุณหภูมิน้ำควรอยู่ประมาณ 12-15 องศาเซลเซียส ใช้เวลาประมาณ 30 วินาทีในรอบแรกเพื่อให้ร่างกายปรับตัว แล้วค่อยเพิ่มเวลาตามความเหมาะสมไม่ควรแช่นานปรับตามความรู้สึกของผู้รับบริการ การแช่ตัวแบบนี้จะช่วยให้เส้นเลือดหดตัว ลดการอักเสบ กระตุ้นภูมิต้านทานของร่างกาย ช่วยรักษาอุณหภูมิในร่างกาย ไม่แนะนำให้ทำในผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ผู้ไวต่อความเย็น ผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตต่ำ ผู้มีประจำเดือน

การแช่ตัวในน้ำอุ่นสลับการอาบน้ำเย็น Alternate bath จะช่วยกระตุ้นระบบภูมิต้านทานของร่างกายได้ดียิ่งขึ้น ไม่แนะนำสำหรับผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง หรือติดเชื้อที่ไตและกระเพาะปัสสาวะ


การแช่น้ำแร่ Mineral bath

แช่น้ำวน Whirlpool bath อุณหภูมิที่เหมาะสำหรับอ่างน้ำวนคือ 30-38 องศาเซลเซียส เวลาที่แช่ประมาณ 15 – 45 นาที

แช่น้ำถังสแตนเลส Hubbard tank การแช่ตัวแบบนี้เหมาสำหรับผู้มีแผลไฟไหม้

แช่น้ำกระตุ้นไฟฟ้า Hydroelectric baths การแช่ตัวแบบนี้เหมาะสำหรับผู้ที่มีปัญหาปวดหลัง-ไหล่


Watsu

วัตสุ (Watsu) เป็นรูปแบบหนึ่งของการบำบัดในน้ำที่ใช้เทคนิคการประคองตัว บริหารร่างกายในน้ำอุ่น และการนวดสำหรับการบำบัดผ่อนคลาย  รวมกันของเทคนิคนวดจีนชิอัตสุ (Shiatsu) การกดจุดและการยืดเหยียดลำตัว บริหารร่างกายในน้ำอุ่น

การบำบัดแบบวัตสุจะบริหารร่างกายในสระน้ำที่ตื้นหรือสระน้ำอุ่น สระอยูในร่ม โดยปกติอุณหภูมิจะอยู่ระหว่าง 94-96 องศาฟาเรนไฮต์ (34-36 องศาเซลเซียส) การใช้น้ำอุ่นช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อและสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับการฝึก


The term "Watsu" is a combination of "water" and "shiatsu," which reflects the two main components of this therapeutic practice. Watsu is performed in a shallow pool or warm-water therapy pool where the water is heated to a comfortable temperature, typically around 94-96 degrees Fahrenheit (34-36 degrees Celsius). The warmth of the water helps to relax the muscles and create a soothing environment for the recipient.

During a Watsu session, the practitioner supports the recipient's body and gently moves them through the water. The movements are slow, fluid, and rhythmic, resembling a dance-like flow. The practitioner's hands are used to cradle and support the recipient, promoting a sense of security and trust.

Watsu is not only a physical therapy but also an experience that promotes relaxation and mindfulness. The combination of warm water, gentle movements, and nurturing touch can help induce a meditative state and a deeper mind-body connection.

Water Yoga/Ai Chi

ยคะน้ำ (Water Yoga) เป็นรูปแบบของการฝึกโยคะที่ทำในน้ำหรือบ่อน้ำ โยคะน้ำนำเป็นการผสมผสานระหว่างท่าโยคะทั่วไป เทคนิคการหายใจ และการผ่อนคลาย ด้วยอาศัยความต้านของน้ำช่วยพยุงตัวลอย ลดแรงกระแทกข้อต่อต่างๆ  ต้านแรงในการเคลื่อนไหวร่างกาย   โยคะน้ำเป็นวิธีการฝึกโยคะที่เป็นเอกลักษณ์ โยคะน้ำสามารถให้ความสดชื่นและเย็นสบายในช่วงอากาศร้อน ในสระกลางแจ้งได้เป็นอย่างดี การฝึกบริหารร่างกายในน้ำ เพื่อส่งเสริมปละบำบัด ฟื้นฟูสุขภาพ ของโรคข้อเสื่อมและอักเสบ เพราะเป็นการออกกำลังกายโดยไม่ต้องรับน้ำหนักตัว ไร้แรงกระแทก มีความปลอดภัยมาก แรงดันน้ำ แรงพยุงช่วยเรื่องระบบไหลเวียนโลหิตที่มีประสิทธิภาพ


Water yoga, also known as aquatic yoga or pool yoga, is a form of yoga practice that takes place in a swimming pool or other bodies of water. It combines traditional yoga postures, breathing techniques, and relaxation exercises Water yoga can be particularly .

Refreshing during hot weather, as the water provides a cooling effect, allowing practitioners to stay comfortable while practicing yoga outdoors.with the support and resistance of water. 

Aichi หรือ Tai Chi in the water" เป็นรูปแบบการฝึกซ้อมที่ดัดแปลงของการฝึกซ้อม Tai Chi ในสระน้ำหรือบ่อน้ำ Tai Chi เป็นศิลปะการต่อสู้มาจากประเทศจีน ซึ่งเน้นการเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ นำมาผสมผสานกับการหายใจลึก และการสังเกตตัวเอง การฝึกซ้อม Tai Chi ในน้ำเพิ่มส่วนประกอบของแรงต้านทานและ แรงพยุงตัวในน้ำ ทำให้เป็นรูปแบบการออกกำลังกายที่เป็นเอกลักษณ์และอ่อนโยน การฝึกช่วยเสริมสร้างกล้ามเนื้อและเพิ่มความแข็งแกร่งให้กับร่างกายโดยรวม 

Aichi or Tai Chi in Water," which is a modified version of the traditional Tai Chi practice performed in a pool or other body of water. Tai Chi is an ancient Chinese martial art that emphasizes slow, flowing movements, deep breathing, and mindfulness. Practicing Tai Chi in water adds an additional dimension of resistance and support, creating a unique and gentle form of exercise. 


Floatation therapy

    ฟลเทชั่น (Floatation) หรือที่เรียกกันอีกชื่อหนึ่งว่า การลอยน้ำ  เป็นการรักษาสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ทำให้ผู้คนลอยตัวอยู่บนผิวน้ำในถังหรือตะแกรงที่ออกแบบมาเฉพาะคล้ายกับการลอยในทะเลหรือบ่อน้ำ น้ำที่ใส่ในถังจะผสมกับเกลือ Epsom salt หรือแมกนีเซียมซัลเฟตซึ่งมีความเข้มข้นสูง เพื่อทำให้น้ำมีความหนืดสูง การโฟลเทชั่น (Floatation therapy) เชื่อกันว่าเมื่อลดความรู้สึกจากสิ่งแวดล้อมภายนอกลง จะช่วยให้ร่างกายและจิตใจผ่อนคลายลง ลดความเครียด บรรเทาอาการกล้ามเนื้ออักเสบ และส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งมีประโยชน์มากมายดังนี้

·ช่วยบรรเทาอากาศปวดกล้ามเนื้อจากการออกกำลังกายหรือจากการทำงานเช่นออฟฟิสซินโดรม เหนื่อยล้าจากการเดินทางไกล

·  ช่วยคลายความเครียด ลดก่อตัวของสารคอติซอลและลดความกังวล

· ช่วยดีท็อกซ์ผิวและเพิ่มระบบหมุนเวียนโลหิตในร่างกายให้ดีขึ้น

   ช่วยให้สมองปลอดโปร่งและมีสมาธิมากขึ้น

·  ช่วยบรรเทาอาการปวดไมเกรน

·  บรรเทาอาการไฟโบรมัยอัลเจีย (Fibromyalgia) เป็นภาวะที่มียอาการปวดเรื้อรังตามกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น และเนื้อเยื่ออ่อนทั่วร่างกาย

       ผู้ป่วยไฟโบรมัยอัลเจียมีปัจจัยหลายอย่างชักนำให้ระบบประสาทส่วนกลางทั้งสมองและไขสันหลัง มีความไวต่อความปวดมากกว่าปกติ


 Floatation therapy, also known as floatation REST (Restricted Environmental Stimulation Therapy) or sensory deprivation therapy, has a relatively more recent history compared to the ancient practices of flotation. It emerged in the mid-20th century and has since gained popularity as a form of alternative therapy for relaxation, stress reduction .

     In the 1950s and 1960s  ,American neuropsychiatrist Dr. John C. Lilly and neuroscientist Dr. Jay Shurley. Dr. Lilly, who was interested in consciousness and altered states of mind, conducted experiments involving sensory isolation tanks filled with water and used flotation to separate the test subjects from external sensory stimuli. These early experiments laid the foundation for what would later become known as floatation therapy. 

     Floating in a specially designed tank or pod filled with a solution of water and Epsom salt. The high concentration of Epsom salt in the water creates buoyancy, allowing the person to float effortlessly on the surface.

Epsom salt, also known as magnesium sulfate, is a mineral compound composed of magnesium, sulfur, and oxygen. It gets its name from the town of Epsom in England, where it was first discovered in natural springs. Epsom salt is widely used for various purposes, primarily in health and wellness, beauty, and gardening .

Inside the pod, the water and air temperature are regulated to match the skin temperature, creating a sensory-restricted environment. This deprivation of sensory input can promote deep relaxation, stress relief, and a sense of mental clarity. Many flotation pods also have options for ambient lighting and soothing music, which can be adjusted according to personal preference.



Steam Bath

การอบไอน้ำ อาจร่วมกันสมุนไพร การอบแบบนี้ อุณหภูมิประมาณ 40-60 องศาเซลเซียส 

วิธีเตรียมตัวอบ

1. อาบน้ำ หรือ ราดตัวให้เปียก

2.อบรอบแรก  3 นาที แล้วอาบน้ำฝักบัว 1 นาที

3.อบรอบที่ 2  ใช้เวลา ไม่เกิน  5 นาทีแล้วอาบน้ำฝักบัว 

4.อบรอบที่ 3 ใช้เวลาไม่เกิน 10 นาที แล้วอาบน้ำฝักบัว 1-2 นาที

5.นั่งพักดื่มน้ำ แต่งต้ว

ผลจากการอบร้อนสลับเย็น

ช่วยใหเลือดหมุนเวียนที่ผิวหนังดีขึ้น 

ช่วยระบบน้ำเหลืองขจัดของเสียได้ดีขึ้น

ช่วยระบบภูมิต้านทานร่างกายดีขึ้น 

ช่วยระบบหายใจทำงานได้ดีขึ้น

ข้อควรระวังในการอบสมุนไพร มีดังนี้

1.ผู้ป่วยโรคหัวใจ 

2.โรคความดันโลหิตสูง 

3. โรคเบาหวาน

4. หญิงมีครรภ์

5. ไมเกรน 

6.มีไข้สูง

7. โรคลมชัก

8.ผู้ดื่มแอลกอฮอล์